สังคมผู้สูงอายุ OPTIONS

สังคมผู้สูงอายุ Options

สังคมผู้สูงอายุ Options

Blog Article

Keyboard navigation optimization: The track record process also adjusts the web site’s HTML, and provides a variety of behaviors using JavaScript code to help make the website operable because of the keyboard. This involves a chance to navigate the website utilizing the Tab and Shift+Tab keys, run dropdowns with the arrow keys, near them with Esc, trigger buttons and backlinks utilizing the Enter essential, navigate between radio and checkbox things utilizing the arrow keys, and fill them in Using the สังคมผู้สูงอายุ Spacebar or Enter critical.

ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิจัยประชากรและสังคม (หลักสูตรไทย)

“ในประเทศไทย เราไม่มีกระบวนการช่วยเหลือผู้สูงอายุในทางอื่นมากนัก การมีลูกจึงเท่ากับการมีหลักประกันของคุณภาพชีวิตในยามสูงวัย ในด้านรายได้ ผู้สูงอายุที่ไม่ได้ทำงานแล้วและมีลูกก็ยังมีลูกให้พึ่งพาได้ ในด้านสุขภาพ ผู้สูงอายุที่มีลูกก็อาจมีสุขภาพดีกว่าคนไม่มี เพราะมีคนคอยดูแล และพาไปโรงพยาบาล และสุดท้าย ในด้านสังคม การมีลูกยังทำให้ผู้สูงอายุรู้สึกยังมีส่วนร่วมในสังคม ทำให้รู้จักเพื่อนบ้านที่มีลูกเล่นด้วยกันหรือครอบครัวของเพื่อนลูก การมีลูกจึงเป็นปัจจัยสำคัญของความสุข ผิดกับโลกตะวันตกที่ผู้สูงอายุยังพอมีรายได้ พอดูแลตัวเองได้ หรือไม่ก็ได้รับสวัสดิการรัฐโดยไม่ต้องพึ่งบุตรหลาน การมีหรือไม่มีลูกจึงไม่ใช่เงื่อนไขของความสุขในชีวิต” รศ.

ทางด้านการคลัง เมื่องบประมาณรายจ่ายเพิ่มขึ้น ภาครัฐจำเป็นต้องเพิ่มค่าใช้จ่ายทางด้านสาธารณสุข การแพทย์ บริการสังคมแก่ผู้สูงอายุมากขึ้นและต้องเพิ่มงบประมาณรายจ่ายเพื่อสงเคราะห์ช่วยเหลือผู้สูงอายุที่ยากไร้และการเก็บภาษีรายได้น้อยลงเนื่องจากมีวัยผู้สูงอายุซึ่งไม่มีรายได้มีสัดส่วนที่มากขึ้น

แหล่งที่มาของงบประมาณเพื่อการสร้างคุณภาพชีวิตที่ดียามชราภาพยังมีความไม่ชัดเจน โดยการหาแหล่งที่มาของเงินคงเลี่ยงไม่ได้ที่จะต้องใช้ทั้งภาษีอากร (เน้นผู้สูงอายุในปัจจุบัน) และใช้การมีส่วนร่วมจ่ายของประชาชน (เน้นประชากรวัยทำงานในปัจจุบันที่ยังมีเวลาสร้างอนาคต) ข้อเสนอส่วนใหญ่ในปัจจุบันให้น้ำหนักไปที่ “การให้มีบำนาญเพื่อผู้สูงอายุในปัจจุบันโดยรัฐจัดสรร” แต่ไม่ควรลืมว่า สังคมไทยยังมีผู้สูงอายุในอนาคตอีกด้วย สังคมไทยต้องแสวงหาทางออกเพื่อ “ก้าวข้ามความขัดแย้งระหว่างรุ่น” โดยการประนีประนอมเชิงนโยบายระหว่างการสร้างหลักประกันยามชราภาพเพื่อให้ผู้สูงอายุในปัจจุบันที่เน้นวิธีการแบบรัฐจัดสรรกับการผลักดันให้เกิดระบบบำนาญฯ แบบมีส่วนร่วมเพื่อเป็นหลักประกันที่มั่นคงให้กับผู้สูงอายุในอนาคต

รวมถึงเครื่องอำนวยความสะดวกและความปลอดภัยในการทำกิจกรรมต่างๆ ในที่พักอาศัย เช่น ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ ธุรกิจออกแบบและตกแต่งภายใน ธุรกิจผลิตเฟอร์นิเจอร์ ธุรกิจขายส่ง ขายปลีกเฟอร์นิเจอร์ ฯลฯ เสื้อผ้า เครื่องแต่งกายที่เหมาะสมตามกาลเทศะช่วงวัย ที่สามารถรักษาหรือบรรเทาอาการเจ็บป่วยที่เกิดขึ้นให้เหมาะสมกับสภาวะร่างกายในช่วงสูงวัย

ศูนย์กีฬาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิจัยประชากรและสังคม (หลักสูตรไทย)

งานวิจัยและสิ่งพิมพ์ งานวิจัย กลุ่มงานวิจัย

สำหรับผู้สูงวัยในอนาคตซึ่งหมายถึงประชากรวัยเด็กและวัยทำงานปัจจุบัน  รศ.ดร.นพพล แนะว่าควรเตรียมตัวให้พร้อม ทั้งสุขภาพร่างกายตนเอง ความมั่นคงทางเศรษฐกิจ และเครือข่ายทางสังคม เพื่อการพึ่งตนเองให้มากที่สุด

อธิบดีกรมพัฒน์ฯ กล่าวต่อว่า เพื่อรองรับจำนวนผู้สงอายุที่เพิ่มขึ้น จึงเป็นโอกาสของการทำธุรกิจเพื่อรองรับคนกลุุ่มดังกล่าว เช่น ธุรกิจผลิตอาหารปรุงสำเร็จ ธุรกิจผลิตอาหารปรุงสำเร็จแช่แข็ง ธุรกิจภัตตาคาร/ร้านอาหาร ธุรกิจบริการด้านเครื่องดื่ม ฯลฯ ที่อยู่อาศัย ออกแบบเพื่อรองรับการใช้ชีวิตของผู้สูงอายุ

“จากงานวิจัยในจีน แม้ว่าจำนวนผู้สูงอายุที่ระบุว่าต้องการอยู่ตามลำพังอาจจะมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น แต่เราไม่มีทางรู้ได้ว่า ถ้าเลือกได้ ผู้สูงอายุอยากจะอยู่ตามลำพังจริงไหม และถ้าต้องอยู่ตามลำพัง จะอยู่ได้ไหม งานวิจัยในยุคหลังหันมาให้ความสนใจกับการใช้ชีวิตของผู้สูงอายุตามลำพังมากขึ้น และเน้นไปที่การประดิษฐ์เทคโนโลยีเพื่อช่วยผู้สูงอายุที่อยู่ตามลำพัง เช่น การเปลี่ยนบ้านให้เป็น wise house การผลิตเทคโนโลยีขอความช่วยเหลือในกรณีฉุกเฉิน และการติดตั้งอุปกรณ์เพื่อความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินที่ผู้สูงอายุสามารถจัดการได้เอง ในปัจจุบัน การทำบ้านในลักษณะนั้นเป็นเรื่องของตลาด อยากอยู่ต้องมีเงิน แต่ถ้าไม่มีเงิน รัฐควรจะช่วยเหลือหรือไม่ อย่างไร ประเด็นเหล่านี้ต้องไขกันต่อ หากเราต้องการให้ผู้สูงอายุสามารถพึ่งพาตัวเองให้ได้มากที่สุดและนานที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้”

ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิจัยประชากรและสังคม (หลักสูตรไทย)

ชีวิตที่ไม่ง่ายของตายายใน “ครอบครัวข้ามรุ่น”

Report this page